บทความโครงการ นักศึกษา | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
1. ชื่อโครงการ | รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการทางการเคลื่อนไหว | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2. จัดทำโดย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
1. นายสรรพวัต วิยะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2. นายวชิระ ปัญญาไว | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3. นายปฏิภาณ พะยะราช | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3. อีเมล์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
tirawat.bigaum@hotmail.com | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4. บทคัดย่อ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการทางการเคลื่อนไหวสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาการดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้ชุดจำลองการล็อคและปลดล็อคประตูผ่านแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้ชุดจำลองการล็อคและปลดล็อคประตูด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ในการใช้ชุดจำลองการล็อคและปลดล็อคประตูผ่านแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า ชุดจำลองการล็อคและปลดล็อคประตูผ่านแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ ที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.90 |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
5. บทนำ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คนพิการบุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการถือว่าเป็นพาหนะหรือเครื่องมือ สำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการเดินหรือการเคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเนื่องมาจากอายุ อาการเจ็บป่วย หรือ ความพิการ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่วิถีทางของสังคมผู้สูงอายุ จากข้อมูลของสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ และสถาบันประชากรศาสตร์ ระบุไว้ว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาอัตราเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งที่เดินได้เองและต้องนั่งรถเข็นผู้ป่วย และ รถเข็นคนพิการ จากที่เห็นรถเข็นปัจจุบันผู้พิการที่ใช้เป็นขันโยกและไม่มีหลังคากันความร้อน เราจึงได้สร้างจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่มีการใช้งานคล้ายกับจักรยานยนต์ สามารถควบคุมความเร็วสามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ ใช้เหล็กเป็นโครงสร้างใช้แฮนด์บิดแบบจักรยานยนต์ มีหลังคาที่ติดแผงโซล่าเซลล์สามารถชาร์ตแบตเตอรี่และสามารถชาร์ตไฟอัตโนมัติได้มีเบรคแบบรถจักรยานยนต์จึงมีความปลอดภัยปรับระบบจากของเดิมให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ เช่น ขนาดที่นั่ง ความสูง ระดับมุมของที่นั่ง ที่วางขา รถเข็นจัดเป็นอุปกรณ์จำเป็นในผู้ป่วยในชีวิตประจำวัน ผู้ป่วยที่อัมพาตหรือมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่ช่วงเอวลงไปถึงด้านล่าง เวลาที่ต้องเดินทางไปไหนมาไหน หรือต้องดำเนินชีวิตในแต่ละวัน จำเป็นที่จะต้องนั่งรถเข็น เพราะส่วนใหญ่ไม่สามารถลุกขึ้นยืน การสร้างรถจักรยานไฟฟ้า อยากจะมีส่วนช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ที่พิการที่ยังจำเป็นต้องออกมาโลดแล่นบนท้องถนนได้ตระหนักและให้ความใสใจดูแลร่างกายให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อให้การเดินทางออกนอกบ้านทุกครั้งเป็นไปด้วยความสะดวก ราบรื่นและปลอดภัยทั้งต่อตนเองและผู้ใช้รถใช้ถนนทุกคน ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเรื่อง การสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการในวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ซึ่งเป็นประโยชน์ ต่อผู้ป่วยที่อัมพาตหรือมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
6.1 เพื่อสร้างรถจักรยานไฟฟ้าสำหรับผู้พิการ 6.2 เพื่อหาประสิทธิภาพในการใช้งานรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
7. ขอบเขตของการวิจัย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
7.1 ด้านขอบข่าย รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ มีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) สามารถควบคุมความเร็วของรถจักรยานได้ (2) สามารถชาร์ตไฟด้วยแผงโซล่าเซลล์ (3) สามารถควบคุมมอเตอร์ให้เดินหน้า-ถอยหลังได้ 7.1.1 เนื้อหาสาระที่ต้องการสร้าง (1) มอเตอร์ DC (2) แผงโซล่าเซลล์ (3) แบตเตอรี่ (4) วงจรควบคุม (5) แฮนด์บิดรถ (6) เหล็ก 7.1.2 ระยะเวลาในการดำเนินโครงการวิจัย คือ 1 เทอม หรือ 18 สัปดาห์ 7.1.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (1) ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษาแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ (2) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนนักศึกษา จำนวน 20 คน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
8. สมมุติฐาน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการนี้ สามารถควบคุมความเร็วของมอเตอร์และชาร์ตไฟได้เองอัตโนมัติ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9. วิธีดำเนินการวิจัย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาพที่ 3-1 แสดงตารางการดำเนินงาน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(1) ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษาแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ (2) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนนักศึกษา จำนวน 20 คน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3.1 วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประมาณความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรม 3.1.1 เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โครงการสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการศึกษาสภาพปัญหา พบว่า 3.1.2 ก่อนการใช้งานต้องชาร์ตแบตเตอรี่ไว้ก่อน 3.2 ศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้อง ความเป็นมาของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ คนพิการบุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการถือว่าเป็นพาหนะหรือเครื่องมือ สำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการเดินหรือการเคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเนื่องมาจากอายุ อาการเจ็บป่วย หรือ ความพิการ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่วิถีทางของสังคมผู้สูงอายุ จากข้อมูลของสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ และสถาบันประชากรศาสตร์ ระบุไว้ว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาอัตราเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งที่เดินได้เองและต้องนั่งรถเข็นผู้ป่วย และ รถเข็นคนพิการ 3.3 กำหนดวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม การสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการสำหรับผู้ป่วยที่อัมพาตหรือมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเพื่อความสะดวก ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องดังนี้ ตารางที่ 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3.4 หาข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม 3.4.1 มอเตอร์ DC ดังแสดงในภาพที่ 3-2 ภาพที่ 3-2 มอเตอร์ DC 3.4.2 ออกแบบโครงสร้างของรถจักรยานไฟฟ้า ดังแสดงในภาพที่ 3-3 ภาพที่ 3-3 โครงสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ 3.5 สร้างนวัตกรรมตามที่ออกแบบ ตามลำดับดังนี้ 3.5.1 การออกแบบโครงสร้าง โดยมีความกว้าง 40 cm สูง 170 cm ดังแสดงในภาพที่ 3-4 ภาพที่ 3-4 โครงสร้างของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ 3.5.2 เตรียมใส่มอเตอร์แสดงผลการทำงาน ดังแสดงในภาพที่ 3-5 ภาพที่ 3-5 โครงรถเมื่อเชื่อมเสร็จ 3.5.3 นำแฮนด์บิดรถจักรยานยนต์มาติดตั้งตามที่วางแบบไว้ ดังแสดงในภาพที่ 3-6 ภาพที่ 3-6 การใส่แฮนด์บิดรถจักรยานยนต์ 3.5.4 ใส่เหล็กยึดมอเตอร์กับแกนหมุนของล้อ ดังแสดงในภาพที่ 3-7 ภาพที่ 3-7 การยึดมอเตอร์ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ _______________________________________________________________________________ แบบประเมินการใช้เครื่องจ่ายบะหมี่อัตโนมัตินี้ จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการทำงานของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ในแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ผลการประเมินของทานจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงการทำงานของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการให้สมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป คำชี้แจง แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความสะดวกในการใช้งานเครื่องจ่ายบะหมี่อัตโนมัติสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์มีทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้างของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการความแข็งแรงทนทาน ด้านที่ 2 ด้านการใช้งานรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน ด้านที่ 3 ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน ด้านที่ 4 คุณค่าโดยสรุป ตอนที่ 3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โปรดทำเครื่องหมาย/ลงใน ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน 3. อาชีพของท่าน นักเรียน/นักศึกษา ข้าราชการ อื่นๆ............................................ ตอนที่ 2 เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการซึ่งประเมินทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้างของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการความแข็งแรงและทนทาน ด้านที่ 2 ด้านการใช้งานรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน ด้านที่ 3 ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน ด้านที่ 4 คุณค่าโดยสรุป คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย/ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ( ) ผู้ทรงคุณวุฒิ แบบประเมินประสิทธิภาพของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการระหว่างความสมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเนกับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค ดังนี้ ตารางที่ 3.3 การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้เชี่ยวชาญ
แสดงการคิดคำนวณค่า IOC ข้อ 1 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 2 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 3 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.33 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 4 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 5 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 6 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.33 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 7 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 8 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 9 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
10. ผลของการวิจัย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ มีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังนี้ การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 7 ตอนดังนี้ ตารางที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม ตารางที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในการใช้งาน ตารางที่5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความคุ้มค่า ตารางที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า ตารางที่7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล 10.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม ตารางแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเครื่องขาย ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่สร้างขึ้นสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านความแข็งแรงของเครื่อง มีดังนี้ ตารางที่ 4.3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง จากตารางที่ 4.3 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการที่สร้างขึ้น ด้านโครงสร้าง โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพอใจมาก ( =4.25) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า โดยความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านโครงสร้าง สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่สร้างขึ้น มีความพึงพอใจเรื่องวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (=4.03) และนาดของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ค่าเฉลี่ยน้อยสุด (=3.07) ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการด้านใช้งาน ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านการใช้งาน ตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้งานนวัตกรรมด้านการใช้งาน จากตารางที่ 4.4 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้งานรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่สร้างขึ้นนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ผู้ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการที่สร้างขึ้นด้านการใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับที่พึงพอใจมากที่สุด(=3.09) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด โดยความพึงพอใจในการใช้งานรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านการใช้งาน ที่สร้างขึ้นนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่มีความพึงพอใจความปลอดภัยในการใช้เครื่องมากสุด (=4.01) และความปลอดภัยในการใช้รถค่าเฉลี่ยน้อยสุด (=3.07) ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เครื่องฟักไข่อัตโนมัติทีสร้างขึ้นสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านความคุ้มค่า ตารางที่ 4.5 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า จากตารางที่ 4.5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านความคุ้มค่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (=3.55) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านความคุ้มค่า สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่สร้างขึ้นมีความพึงพอใจระยะเวลาในการทำเครื่อง มีค่าเฉลี่ยมากสุด (=3.08) และระยะเวลาในการทำรถค่าเฉลี่ยที่น้อยสุด (=3.03) ตอนที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านคุณค่าโดยสรุป ตารางที่ 4.6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า ตารางที่ 4.6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ที่สร้างคุณค่าโดยสรุป โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด (=4.01) ตอนที่ 7 ผลกรวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้เครื่องขายบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปแบบอัตโนมัติสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้เครื่องขายบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปแบบอัตโนมัติ ที่สร้างขึ้น ดังนี้ ตารางที่ 4.7 แสดงผลกรวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน จากตารางที่ 4.7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ทุกด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (=3.95) และเมื่อพิจารณาหลายด้าน ด้านคุณค่ามีความพึงพอใจมากที่สุด มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด (=4.02) และด้านโครงสร้างมีความพึงพอใจน้อยที่สุด (=3.07) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะประโยชน์ที่ได้รับ การสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ เป็นงานวิจัยประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่คณะผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นในการศึกษาวิชาโครงการ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ปีพุทธศักราช 2560 สาชางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ ทำการทดลองจากนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ สรุปผลการดำเนินงานวิจัย ปัญหาและข้อเสนอแนะและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ 5.1 สรุปผลการวิจัย 5.1.1 การสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ พบว่า เครื่องที่สร้างขึ้นมามีคุณสมบัติ ดังนี้มีความแข็งแรง น้ำหนักปานกลาง ขนาดของเครื่องเหมาะสมตามที่ออกแบบ เดินหน้าถอยหลังได้จริงวัสดุที่ใช้สร้างมีความเหมาะสม สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และมีประสิทธิภาพใกล้เคียงตู้ขายตามท้องตลาด อีกทั้งราคาถูกว่าท้องตลาด 5.1.2 ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคในการใช้สร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ ด้านโครงสร้าง พบว่า มีความพึงพอใจในวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมามีความพึงพอใจความแข็งแรงของเครื่องสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ รูปร่างของเครื่องมีความเหมาะสมและขนาดของสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ เรียงตามลำดับจากมากมาหาน้อย ( 4.30, 3.92, 3.50และ3.40) 5.1.3 ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคในการใช้รถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ ด้านการใช้งานโดยสรุปมีความสะดวกในการใช้งานสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ โดยมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ใน ระดับดีมากที่สุด รองลงมาง่ายต่อการใช้งานและมีความปลอดภัยในการใช้สร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ เรียงตามลำดับจากมากมาหาน้อย (4.30, 4.50และ4.60) 5.2 การอภิปรายผล สร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการเพื่อความสะดวกต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้พิการ ขึ้นมานั้น มีความเหมาะสมกับการใช้งาน มีความแข็งแรงของรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการความสะดวกในการใช้งาน ซึ่งสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาหลักการทำงานของ รถเข็นแบบโยก วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้มีความแข็งแรง ขนาดของเครื่องขายบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปแบบอัตโนมัติกว้าง 40 เซนติเมตร สูง 150 เซนติเมตร มีความเหมาะสมและความสะดวกในการใช้งานโดยมีความปลอดภัยในการใช้เครื่อง และง่ายต่อการใช้งานสร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการได้อย่างประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นในเรื่องการเคลื่อนที่มีทั้งในด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ด้านการทำงานเดินหน้า-ถอยหลังและความง่ายต่อการใช้งาน สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานทุกอย่างตามที่ผู้จัดทำได้วิเคราะห์และออกแบบการทำงานของปุ่มกดสวิตซ์ ทำให้ผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของการวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุมการทำงานทุกครั้งจะต้องคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
12. ข้อเสนอแนะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
12.1 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ (1) ทำให้แบตเตอรี่ใช้งานได้นานกว่านี้ (2) ควรติดตั้งไมล์แสดงความเร็วของรถ 12.2 ข้อเสนอแนะเพื่องานวิจัยครั้งต่อไป (1) ควรเพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้นโดยอาจจะเพิ่มความปลอดภัยให้มากกว่านี้ (2) ควรลดน้ำหนักของรถโดยใส่อุปกรณ์ที่มีขนาดน้ำหนักเบากว่านี้ (3) ควรออกแบบด้านหน้าของรถและเพิ่มปุ่มกด 13. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ 13.1 ได้สร้างรถจักรยานไฟฟ้าผู้พิการ 13.2 สามารถควบคุมความเร็วของมอเตอร์ 13.3 สะดวกต่อการใช้งาน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
13. บรรณานุกรม | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การเขียนบรรณานุกรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก www.elecnet.chandra.ac.th/paper/255506.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 29 ธันวาคม 2559). การเขียนบรรณานุกรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://202.129.59.73/tn/motor10-52/motor1.htm (วันที่สืบค้นข้อมูล : 29 ธันวาคม 2559). |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประวัติผู้จัดทำโครงการ ชื่อ-สกุล นายสรรพวัต วิยะ เกิดเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2541 ที่อยู่ปัจจุบัน 43 หมู่ 10 ตำบลบ้านเวียง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 54140 วุฒิการศึกษา กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวช.3 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ เบอร์โทร 096-0154579 อีเมล์ tirawat.bigaum@hotmail.com ชื่อ-สกุล นายวชิระ ปัญญาไว เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2541 ที่อยู่ปัจจุบัน 19 หมู่ 7 ตำบล ห้วยม้า อำเภอ เมือง จังหวัด แพร่ 54000 วุฒิการศึกษา กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวช.3 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ เบอร์โทร 099-2914601 อีเมล์ wachira_punyawai@hotmail.com ชื่อ-สกุล นายปฏิภาณ พะยะราช เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2541 ที่อยู่ปัจจุบัน 300 หมู่ 4 ตำบล บ้าน เหมืองหม้อ อำเภอ เมือง จังหวัด แพร่ 54000 วุฒิการศึกษา กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวช.3 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ เบอร์โทร 096-6521660 อีเมล์ patiparn_payarach@hotmail.com |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลิงค์ Youtube vdo | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||