บทความโครงการ นักศึกษา | |
1. ชื่อโครงการ | การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ |
2. จัดทำโดย | |
1. นายจิรวัฒน์ สุขสวัสดิ์ | |
2. นายณัฐวุฒิ ปานทอง | |
3. | |
3. อีเมล์ | |
jirawatsuksawat1@gmail.com , Nuttawod1996_nut@hotmail.com | |
4. บทคัดย่อ | |
โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเว็บศิษย์เก่า เรื่อง การสร้างโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา การดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย () และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ เสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ ผลการดำเนินการวิจัย พบว่าโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ ที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.44 |
|
5. บทนำ | |
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเราเป็นอย่างมากเพราะทำให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางต่าง ๆในปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสารสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางหรืออยู่ที่ที่ห่างกันและสามารให้คำปรึกษาได้ทันที หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทางเว็บไซต์ก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ |
|
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย | |
1) เพื่อสร้างโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ 2) เพื่อหาประสิทธิภาพโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ |
|
7. ขอบเขตของการวิจัย | |
โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ |
|
8. สมมุติฐาน | |
โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ใช้ในการหาข้อมูลของสถานประกอบการและศิษย์เก่าที่จบในแต่ละปี |
|
9. วิธีดำเนินการวิจัย | |
1) ศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมการโครงการ ผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์และโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ |
|
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง | |
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง | |
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ | |
การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนในการออกแบบ โดยมีรายละเอียด ภาพที่ 1 ลำดับขั้นตอนการดำเนินโครงการ 1. วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม 2. ศึกษาทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดขอบเขตของโปรแกรม และฐานข้อมูลที่ใช้เขียนโปรแกรม 4. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ภาพที่ 2 การทำงานของเว็บไซต์ ภาพที่ 3 ผังการทำงานของเว็บไซต์ 5) เว็บไซต์ระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ (1) ภาพรวมของเว็บไซต์ ภาพที่ 4 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ (2) หน้าต่างสมัครสมาชิกศิษย์เก่า ภาพที่ 5 หน้าต่างสมัครสมาชิกศิษย์เก่า (3) หน้าต่างสมัครสมาชิกของสถานประกอบการ ภาพที่ 6 หน้าต่างสมัครสมาชิกของสถานประกอบการ (4) เมนูข่าวสารการสมัครงานและหางานสมาชิกศิษย์เก่า ภาพที่ 7 เมนูข่าวสารการสมัครงานและหางานสมาชิกศิษย์เก่า (5) เมนูข่าวสารการสมัครงานและหางานสมาชิกศิษย์เก่า ภาพที่ 8 เมนูข่าวสารการสมัครงานและหางานสมาชิกศิษย์เก่า (6) ลงประกาศข่าวสารการสมัครงาน ภาพที่ 9 ลงประกาศข่าวสารการสมัครงาน (7) ลงประกาศข่าวสารการสมัครงาน ภาพที่ 10 ลงประกาศข่าวสารการสมัครงาน (8) แก้ไขประกาศข่าวของผู้ลงประกาศการสมัครงาน ภาพที่ 11 แก้ไขประกาศข่าวของผู้ลงประกาศการสมัครงาน (9) แก้ไขประกาศข่าวของผู้ลงประกาศการสมัครงาน ภาพที่ 12 แก้ไขประกาศข่าวของผู้ลงประกาศการสมัครงาน (10) สรุปรายชื่อศิษย์เก่าทั้งหมด ภาพที่ 13 สรุปรายชื่อศิษย์เก่าทั้งหมด (11) สรุปรายชื่อศิษย์เก่าทั้งหมด ภาพที่ 12 สรุปรายชื่อศิษย์เก่าทั้งหมด 6. ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ ตารางที่ 2 การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ แสดงการคิดคำนวณค่า IOC ข้อ 1 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 2 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 3 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 4 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 5 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333 มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้ ข้อ 6 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 7 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 8 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 9 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ ข้อ 11 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3 จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1 มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้ แบบประเมินความพึงพอใจการสร้างโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษาศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ แบบประเมินผลความพึงพอใจการสร้างโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้ ที่มีต่อโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ให้มีความสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป คำชี้แจง แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความสะดวกในการใช้งาน โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้าง ด้านที่ 2 ด้านการใช้งาน ด้านที่ 3 ด้านคุณค่าโดยสรุป ตอนที่ 3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถามโปรดทำเครื่องหมาย ü ลงใน £ ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 21-30 ปี 31-40 ปี41-50 ปี สูงกว่า 50 ปี 3. อาชีพของท่าน ไม่มีอาชีพ เกษตรกร ข้าราชการ นักเรียน/นักศึกษา อื่น ๆ ระบุ.................................. ตอนที่ 2 เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ซึ่งประเมิน ทั้งหมด 3 ด้านดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้าง ด้านที่ 2 ด้านการใช้งาน ด้านที่ 3 ด้านคุณค่าโดยสรุป คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด 5 หมายถึง ในระดับดี มากที่สุด 4 หมายถึง ในระดับดี มาก 3 หมายถึง ในระดับดี ปานกลาง 2 หมายถึง ในระดับดี น้อย 1 หมายถึง ในระดับดี น้อยที่สุด ตารางที่ 3 แบบประเมินผลความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… |
|
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล | |
โครงการครั้งนี้ เลือกนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เพื่อหาคำตอบของโครงการครั้งนี้โดยกำหนดเป็นขั้นตอนได้ดังนี้ ภาพที่ 13 ผังแสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสำหรับการประเมิน ภาพที่ 14 การทดลองใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ ภาพที่ 15 การทดลองใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการ |
|
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล | |
1) การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิณ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์ IOC คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency) คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 2) การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ แทน คะแนนเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จำนวนข้อมูล 3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation) S.D คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง N คือ จำนวนข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง |
|
10. ผลของการวิจัย | |
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์มีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยขอนำเสนอตามลำดับ โดยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล รวม 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบในภาพรวมทุกด้าน ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20 คน เป็นเพศชาย20คน คิดเป็น 100% และอายุส่วนใหญ่อยู่ที่เกณฑ์ 16-20ปี คิดเป็น 100% ประสบการณ์ใช้งานโปรแกรมคิดเป็น 100% ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม คือ ในแต่ละฟอร์มการทำงานระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม เหมาะสมกับการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ = 4.54) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความสามารถของโปรแกรมส่วนความสามารถ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ( = 4.65) และด้านความสามารถของโปรแกรมส่วนการแสดงผลงาน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ( = 4.45) ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงานคือระบบมีความสะดวกในการใช้งาน ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ ( = 4.53) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านโปรแกรมมีระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ( = 4.60) และด้านการใช้คำสั่งต่าง ๆ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ( = 4.50) ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรมคือระบบมีความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน ตารางที่ 7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม จากตารางที่ 7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านความง่ายต่อการใช้การโปรแกรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก คือ ( = 4.45) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ( = 4.60) และด้านความเหมาะสมในการใช้ข้อความเพื่ออธิบายสื่อ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ( = 4.30) ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ มีดังนี้ ตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน จากตารางที่ 8 ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ โดยภาพรวมทุกด้าน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย คือ ( =4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมินในแต่ละด้าน พบว่า ด้านการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรมมีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ ( =4.54) และด้านการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ( =4.45) |
|
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป | |
การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบการแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ในการทดลองใช้งานเพื่อหาประสิทธิภาพของโปรแกรม ในการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งาน พบว่า ควรเลือกใช้ชนิด ขนาด สีตัวอักษรบนเว็บไซต์ให้เหมาะสม ยังให้ความเห็นว่าควรใช้ตัวอักษรที่มีขนาดใหญ่ขึ้นและควรออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์ให้ดึงดูดความน่าสนใจมากกว่านี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในงานใช้งาน ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม พบว่า ความพึงพอใจในความสามารถของโปรแกรมในส่วนการออกแบบหน้าเว็บ เป็นรายการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมามีความพึงพอใจใจความสามารถในส่วนของโปรแกรมส่วนการแสดงข้อมูลผลงานอยู่ในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ศิษย์เก่าและสถานประกอบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน พบว่า โปรแกรมมีระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นเป็นรายการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมามีความพึงพอใจในส่วนของความเร็วในการทำงานของโปรแกรมและโปรแกรมที่สร้างมีความครอบคลุมกับการใช้งานจริง อยู่ในระดับมากที่สุด |
|
12. ข้อเสนอแนะ | |
1) ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ (1) ควรปฏิบัติตามข้อแนะนำคู่มือการใช้งาน (2) ควรลงทะเบียนก่อนใช้งานระบบศิษย์เก่า 2) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป (1) สามารถติดต่อศิษย์เก่าได้ (2) ควรจัดรูปแบบเว็บไซต์ให้มีความดึงดูดน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น (3) ในการออกแบบควรนึกถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นส่วนใหญ่ |
|
13. บรรณานุกรม | |
การใช้งานของ Adobe Photoshop.2559.[ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา: http://webquest.kanokrat.info/?page_id=1245 การใช้งานคำสั่งของเว็บไซต์. 2559. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.hellomyweb.com/course/html/ บัญชา ปะสีละเตสัง. พัฒนาเว็ปแอปพลิเคชั่น PHP ร่วมกับ MySQL และDreamweaver. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ประวัติความเป็นมาของ Adobe Photoshop. 2559.[ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา: http://bombzii10.blogspot.com/2016/02/adobe-photoshop.html ประวัติphoto shop 1 ประวัติAdobe Dreamweaver. 2559.[ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/47/page/1_introduce.html |
|
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ | |
ชื่อ-สกุล นายจิรวัฒน์ สุขสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2539 ที่อยู่ปัจจุบัน 42 หมู่ 14 ตำบลห้วยม้า อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000 วุฒิการศึกษา ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสูง (ปวส.) สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ เบอร์โทร 086-4476684 อีเมล์ jirawatsuksawat1@gmail.com ชื่อ-สกุล นายณัฐวุฒิ ปานทอง เกิดเมื่อวันที่ 04 เมษายน 2539 ที่อยู่ปัจจุบัน 103 หมู่ 9 ตำบล หัวทุ่ง อำเภอลอง จังหวัด แพร่ 54150 วุฒิการศึกษา ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ เบอร์โทร 088-7703826 อีเมล์ Nuttawod1996_nut@hotmail.com |
|
ลิงค์ Youtube vdo | |